ความปลอดภัยของผู้ป่วย (Patient Safety) 

ความปลอดภัยกับการดูแลผู้ป่วยเป็นประเด็นสำคัญ ที่ซึ่งองค์กรสุขภาพในทุกภาคส่วนต้องตระหนักรู้ และเห็นความสำคัญ โดยควรจัดให้มีการเรียนการสอนสอดแทรกในทุกๆรายวิชา พัฒนาองค์ความรู้ผ่านการวิจัย และส่งเสริมการนำไปใช้ในการบริการวิชาการอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง เพื่อให้องค์ความรู้เรื่องความปลอดภัยในผู้ป่วยมีการพัฒนาและเพิ่มพูนอย่างเป็นรูปธรรม ดังนั้นจากความสำคัญดังกล่าวมา World Health Organization (WHO) พัฒนาคู่มือหลักสูตรความปลอดภัยของผู้ป่วยฉบับสหวิชาชีพขึ้น เผื่อแพร่สาธารณะโดยมีวัตถุประสงค์การจัดทำคือ 1) เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนมหาวิทยาลัยและโรงเรียนของวิทยาศาสตร์สุขภาพในการสร้างและบูรณาการการเรียนรู้ด้านความปลอดภัยของผู้ป่วยในหลักสูตรปัจจุบัน และ 2) เพื่อปรับปรุงคุณภาพและความปลอดภัยของการดูแลการแบ่งเนื้อหาในคู่มือหลักสูตร

PDF Download

ความปลอดภัยกับการดูแลผู้ป่วยเป็นประเด็นสำคัญ ที่ซึ่งองค์กรสุขภาพในทุกภาคส่วนต้องตระหนักรู้ และเห็นความสำคัญ โดยควรจัดให้มีการเรียนการสอนสอดแทรกในทุกๆรายวิชา พัฒนาองค์ความรู้ผ่านการวิจัย และส่งเสริมการนำไปใช้ในการบริการวิชาการอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง เพื่อให้องค์ความรู้เรื่องความปลอดภัยในผู้ป่วยมีการพัฒนาและเพิ่มพูนอย่างเป็นรูปธรรม ดังนั้นจากความสำคัญดังกล่าวมา World Health Organization (WHO) พัฒนาคู่มือหลักสูตรความปลอดภัยของผู้ป่วยฉบับสหวิชาชีพขึ้น เผื่อแพร่สาธารณะ

ผลสอบภาษาอังกฤษเป็นปัจจัยที่สำคัญที่สุด เพราะใช้เป็นเกณฑ์การพิจารณาว่า มหาวิทยาลัยในต่างประเทศจะรับนักศึกษาจากประเทศต่างๆ ทั่วโลกเข้าศึกษาต่อหรือไม่

SimMan 3G เป็นหุ่นจำลองของมนุษย์ผู้ใหญ่ที่ใช้ในการเรียนการสอนนักศึกษาแพทย์และพยาบาล มีความสมจริงคล้ายมนุษย์ สามารถจำลองสถานการณ์ได้จริง 

การฟื้นตัวหลังผ่าตัด (Postoperative recovery) คือ กระบวนกลับเข้าสู่สภาวะปกติของร่างกายภายหลังการผ่าตัด ซึ่งการฟื้นตัวนี้ ประกอบไปด้วยการฟื้นตัวทางด้านร่างกาย (physical) จิตใจ (psychological) ทางด้านสังคม (social) และการดำเนินชีวิตประจำวัน (habitual function) ซึ่งการฟื้นตัว สามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ระยะ คือ 24 ชั่วโมงแรกหลังผ่าตัด (Early phase) ระยะช่วงสัปดาห์แรกหลังทำผ่าตัด (Intermediate phase) และระยะหลังสัปดาห์แรกถึง 1 เดือน หลังทำผ่าตัด (Late phase)

แบบประเมิน การนำองค์ความรู้ไปใช้ประโยชน์ ของคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

Login Form

Contact Us

งานพัฒนาคุณภาพและบริหารความเสี่ยง
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
เลขที่ 999 ถนนพุทธมณฑลสาย 4
แขวงศาลายา เขตพุทธมณฑล
จังหวัดนครปฐม 73170
จันทร์-ศุกร์ (ยกเว้นวันหยุดนักขัตฤกษ์)
เวลา 08.30-16.30 น.

Statistics

เนื้อหาที่เปิดอ่าน
1333179